บันทึกอนุทิน
วิชาการจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวม
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิ่น
วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ.2558
ครั้งที่ 9 เวลาเรียน 13.10 - 16.40.
เนื้อหาที่เรียน
- เด็กเข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูดไหม
- สนทนามีการตอบสนองเมื่อมีคนพูดด้วยหรือเปล่า
- ถามหาสิ่งต่างๆไหม
- เด็กสามารถบอกเล่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้หรือไม
- ใช้คำศัพท์ของตัวเองกับเด็กคนอื่นไหม
2.การออกเสียงผิดหรือพูดไม่ชัด
- การพูดตกหล่นของประโยค
- การใช้เสียงหนึ่งแทนอีกเสียง
- ติดอ่าง พูดติดขัด
3.การปฏิบัติของครูและผู้ใหญ่
ไม่ควรสนใจการพูดของเด็กในการพูดซ้ำหรือการออกเสียงไม่ชัด ห้ามบอกเด็กว่า "พูดช้าๆ"
"ตามสบาย" "คิดก่อนพูด" เพราะจะทำให้เด็กขาดความมั่นใจที่จะพูดอีก และไม่ควรไปขัดจังหวะขณะเด็กกำลังพูด สิ่งที่สำคัญคือไม่ควรเปรียบเทียบการพูดของเด็กกับเด็กคนอื่น และเด็กที่พูดไม่ชัดอาจเกี่ยวข้องกับการได้ยิน
4. ทักษะพื้นฐานทางภาษา
- ทักษะการรับรู้ภาษา
- การแสดงออกทางภาษา
- การสื่อความหมายโดยไม่ใช้คำพูด
5.ความรับผิดชอบของครูปฐมวัย
ครูควรเป็นผู้ฟังที่ดีและโต้ตอบอย่างฉับไวแต่ครูก็ไม่ควรพูดมากเกินไป ให้เวลาเด็กได้พูดได้แสดงออก ส่วนครุก็คอยโต้ตอบชี้แนะหากจำเป็น เด็กไม่ได้เรียนรู้ภาษาจากการฟังเพียงอย่างเดียว การแสดงออกของครูก็เป็นส่วนที่เด็กเลียนแบบและเรียนรู้ไปพร้อมกับภาษาการฟัง การพูด จึงเป็นเรื่องสำคัญที่จะให้เด็กพิเศษได้ทำกิจกรรมกลุ่ม เด็กพิเศษได้มีแบบอย่างจากเพื่อน ครูควรกระตุ้นให้เด็กบอกความต้องการของตนเองครูไม่ควรคาดการณ์ล่วงหน้า เน้นการสื่อความหมายมากกว่าการพูดโดยตรง เด็กพิเศษรับรู้มากเท่าไหร่เขาก้ยิ่งพูดได้มากเท่านั้น
6.การสอนตามเหตุการณ์(Incidental Teaching)
ดังภาพเราจะเห็นได้ว่าเด็กกำลังติดกระดุมอยู่ เมื่อครูดูเหตุการณ์นี้มาสักพักก็จะเขาไปถาม"ทำอะไรอยู่ค่ะ"ถามจนกว่าจะตอบถ้าไม่ตอบครูก็ควรช่วย "ติดกระดุมอยู่หรอเดี๋ยวครูช่วยนะ" ตอนทำกระจับมือเด็กทำไปพร้อมกัน ส่วนใหญ่จะใช้ในห้องเรียนรวม การสอนตามเหตุการณ์ เป็นการสอนตามลำดับเหตุการณ์จากเริ่มจนจบ
กิจกรรมวันนี้
อาจารย์ให้จับคู่กันและหยิบสีคนล่ะสี มีกระดาษอยู่คู่ล่ะแผ่น อาจารย์ให้นักศึกษาฟังเสียงดนตรีและขีดเส้นตรงไปมาตามจังหวะของดนตรีที่บรรเลงตั้งแต่ต้นจนจบโดยห้ามยกสีขึ้น
เส้นสามารถบอกความเป้นตัวตนของแต่ละคนได้ เส้นสื่อถึงความคิด
เส้นเยอะก็คิดมาก เส้นปกติก็ไม่ค่อยคิดอะไรเลย
ผลงานของเพื่อนๆ
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
ภาษาของเด็กไม่ใช่แค่การฟัง การพูด แต่การแสดงออกท่าทางก็เป็นภาษาเช่นกันเด็กจะเรียนรู้จากการลอกเลียนแบบ เมื่อเขาเห็นครูทำอย่างไรก็จะทำตาม ครูควรเป็นผู้ฟังที่ดีสำหรับเด็กไม่ควรขัดจังหวะในขณะที่เขากำลังพูด หรือไม่ควรบอกตำหนิเขา จะทำให้เขาขาดความมั่นใจและไม่กล้าพูดในครั้งต่อไป ครูควรโต้ตอบกับเด็กเมื่อเขาสนทนาด้วย ควรเน้นการสื่อความหมายมากกว่าการบอกเด็กตรงๆเพื่อให้เขาได้เรียนรู้เพิ่มมากขึ้น กิจกรรมที่ทำก็สามารถนำมาใช้กับเด็กได้เช่นกันเด็กอาจทำำได้ดีกว่าเราเพราะเขาทำด้วยความจริงไม่หวงเล่นเหมือนพวกเรา ส่วนใหญ่พวกเราชอบคิดล่วงหน้า แต่เด็กเขาจะทำความจริง พูดออกมาแต่ความจริง
บรรยากาศในห้องเรียน
การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ : ทักษะภาษา
1.การวัดความสามารถทางภาษา- เด็กเข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูดไหม
- สนทนามีการตอบสนองเมื่อมีคนพูดด้วยหรือเปล่า
- ถามหาสิ่งต่างๆไหม
- เด็กสามารถบอกเล่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้หรือไม
- ใช้คำศัพท์ของตัวเองกับเด็กคนอื่นไหม
2.การออกเสียงผิดหรือพูดไม่ชัด
- การพูดตกหล่นของประโยค
- การใช้เสียงหนึ่งแทนอีกเสียง
- ติดอ่าง พูดติดขัด
3.การปฏิบัติของครูและผู้ใหญ่
ไม่ควรสนใจการพูดของเด็กในการพูดซ้ำหรือการออกเสียงไม่ชัด ห้ามบอกเด็กว่า "พูดช้าๆ"
"ตามสบาย" "คิดก่อนพูด" เพราะจะทำให้เด็กขาดความมั่นใจที่จะพูดอีก และไม่ควรไปขัดจังหวะขณะเด็กกำลังพูด สิ่งที่สำคัญคือไม่ควรเปรียบเทียบการพูดของเด็กกับเด็กคนอื่น และเด็กที่พูดไม่ชัดอาจเกี่ยวข้องกับการได้ยิน
4. ทักษะพื้นฐานทางภาษา
- ทักษะการรับรู้ภาษา
- การแสดงออกทางภาษา
- การสื่อความหมายโดยไม่ใช้คำพูด
5.ความรับผิดชอบของครูปฐมวัย
ครูควรเป็นผู้ฟังที่ดีและโต้ตอบอย่างฉับไวแต่ครูก็ไม่ควรพูดมากเกินไป ให้เวลาเด็กได้พูดได้แสดงออก ส่วนครุก็คอยโต้ตอบชี้แนะหากจำเป็น เด็กไม่ได้เรียนรู้ภาษาจากการฟังเพียงอย่างเดียว การแสดงออกของครูก็เป็นส่วนที่เด็กเลียนแบบและเรียนรู้ไปพร้อมกับภาษาการฟัง การพูด จึงเป็นเรื่องสำคัญที่จะให้เด็กพิเศษได้ทำกิจกรรมกลุ่ม เด็กพิเศษได้มีแบบอย่างจากเพื่อน ครูควรกระตุ้นให้เด็กบอกความต้องการของตนเองครูไม่ควรคาดการณ์ล่วงหน้า เน้นการสื่อความหมายมากกว่าการพูดโดยตรง เด็กพิเศษรับรู้มากเท่าไหร่เขาก้ยิ่งพูดได้มากเท่านั้น
6.การสอนตามเหตุการณ์(Incidental Teaching)
ดังภาพเราจะเห็นได้ว่าเด็กกำลังติดกระดุมอยู่ เมื่อครูดูเหตุการณ์นี้มาสักพักก็จะเขาไปถาม"ทำอะไรอยู่ค่ะ"ถามจนกว่าจะตอบถ้าไม่ตอบครูก็ควรช่วย "ติดกระดุมอยู่หรอเดี๋ยวครูช่วยนะ" ตอนทำกระจับมือเด็กทำไปพร้อมกัน ส่วนใหญ่จะใช้ในห้องเรียนรวม การสอนตามเหตุการณ์ เป็นการสอนตามลำดับเหตุการณ์จากเริ่มจนจบ
กิจกรรมวันนี้
อาจารย์ให้จับคู่กันและหยิบสีคนล่ะสี มีกระดาษอยู่คู่ล่ะแผ่น อาจารย์ให้นักศึกษาฟังเสียงดนตรีและขีดเส้นตรงไปมาตามจังหวะของดนตรีที่บรรเลงตั้งแต่ต้นจนจบโดยห้ามยกสีขึ้น
เส้นสามารถบอกความเป้นตัวตนของแต่ละคนได้ เส้นสื่อถึงความคิด
เส้นเยอะก็คิดมาก เส้นปกติก็ไม่ค่อยคิดอะไรเลย
ผลงานของเพื่อนๆ
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
ภาษาของเด็กไม่ใช่แค่การฟัง การพูด แต่การแสดงออกท่าทางก็เป็นภาษาเช่นกันเด็กจะเรียนรู้จากการลอกเลียนแบบ เมื่อเขาเห็นครูทำอย่างไรก็จะทำตาม ครูควรเป็นผู้ฟังที่ดีสำหรับเด็กไม่ควรขัดจังหวะในขณะที่เขากำลังพูด หรือไม่ควรบอกตำหนิเขา จะทำให้เขาขาดความมั่นใจและไม่กล้าพูดในครั้งต่อไป ครูควรโต้ตอบกับเด็กเมื่อเขาสนทนาด้วย ควรเน้นการสื่อความหมายมากกว่าการบอกเด็กตรงๆเพื่อให้เขาได้เรียนรู้เพิ่มมากขึ้น กิจกรรมที่ทำก็สามารถนำมาใช้กับเด็กได้เช่นกันเด็กอาจทำำได้ดีกว่าเราเพราะเขาทำด้วยความจริงไม่หวงเล่นเหมือนพวกเรา ส่วนใหญ่พวกเราชอบคิดล่วงหน้า แต่เด็กเขาจะทำความจริง พูดออกมาแต่ความจริง
บรรยากาศในห้องเรียน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น